ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประวิทย์ ฤทธิบูลย์

Asst. Prof.Pravit Rittibul

02 549 4581


Email : pravit@rmutt.ac.th

สาขาวิชา
วิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา
ภาควิชา
นาฏดุริยางคศิลป์

ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิ สาขาวิชาที่จบ ปีที่จบ สถาบันการศึกษา
กศ.ม. ศิลปะการแสดงศึกษา 2558 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ศษ.บ. นาฏศิลป์ไทย 2553 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ประสบการณ์ทำงานจำนวน 8 ปี

รายวิชาที่สอน

  • นาฏศิลป์ไทย (โขนพระ) 1-8
  • โขนวิทยา
  • วรรณคดีการละคร
  • การบริหารการจัดการแสดง
  • คอมพิวเตอร์เพื่อการนาฏศิลป์
  • เทคนิคการฝึกอบรมนาฏศิลป์และดนตรี
  • ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1-2

ผลงานทางวิชาการ

บทความทางวิชาการ

  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2557). รูปแบบความเป็นครูนาฏศิลป์ไทยกับทักษะการเรียนรู้ใหม่ในอนาคต. วารสารศิลปกรรมวิชาการ, 2(2).
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2558). นาฏศิลป์ไทย : สื่อทางวัฒนธรรมที่มากกว่าความบันเทิง.วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์, 2(1).
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2558). รูปแบบการเรียนการสอนนาฏศิลป์ราชอาณาจักรกัมพูชา : กรณีศึกษาของสมาคม TLAITNO. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์, 2(2).
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2560). การพัฒนาการแสดงนาฏศิลป์ไทยจากทุนวัฒนธรรมสู่การดำรงอยู่ในยุคประเทศไทย 4.0. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัยและงานสร้างสรรค์,4(1).
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2561). โขนวิทยา: ศาสตร์ ศิลป์ ถิ่นสยาม. วารสารนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(2).

ตำรา/หนังสือ

  • ตำรา
  • หนังสือ
    • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2561). โขนวิทยา. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกัด.

งานวิจัย/บทความวิจัย

  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2560). การพัฒนาความสามารถในการสร้างสรรค์ผลงานทางด้านนาฏศิลป์ไทย โดยใช้โมเดลซิปปา. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 18 2(36).
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2561). การศึกษาอัตลักษณ์ประเพณีแห่หางหงส์ ธงตะขาบ สู่การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรม: การออกแบบสร้างสรรค์ชุดการแสดงสำหรับการนำเสนอภาพลักษณ์การท่องเที่ยวในจังหวัดปทุมธานี. วารสารนวัตกรรมสื่อสารสังคม, 6(1).
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์ และคณะ. (2561). หนังติดตัวโขน: กรณีศึกษาโขนหน้าจอ เรื่องรามเกียรติ์ ชุด ศึกวิรุญจำบัง. การประชุมวิชาการวิจัยระดับชาติ “การสืบสานศิลปวัฒนธรรมอาหารไทยในยุคไทยแลนด์ 4.0” ณ อาคาปฏิบัติการอาหารฮาลาลมหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี.
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2562). การประเมินความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาทักษะเกี่ยวกับการแต่งกายยืนเครื่องโขน-ละครรำสำหรับครูกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(สาระนาฏศิลป์ไทย) เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 จังหวัดปทุมธานี.วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ, 20 2(40).

ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น

  • Pravit Rittibul. (2017). Creative Work Naruetayasata Nora Naree. The 7thInternational Festival of Arts and Culture. Srinakharinwirot University.
  • Pravit Rittibul. (2018). The Creative Performance Named “Hae Hang HongTong Ta Khab”. The 8th SWU International Festival of Art and Culture 14th-15th June 2018 Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University.
  • ผุสวัฒน์ทองสร้อย, ประวิทย์ ฤทธิบูลย์, ปิยวดี มากพา. (2558). งานสร้างสรรค์ การแสดงชุดอัปสรานฤมิตรปูชิตเทวา. โครงการเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษา: อบรมเชิงปฏิบัติการและมหกรรมศิลปะ ดนตรีและการแสดง ครั้งที่ 5 ณ หอดนตรีและการแสดงอโศกมนตรี อาคารนวัตกรรม ศ.ดร.สาโรช บัวศรี ชั้น 4.
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2560). การสร้างสรรค์การแสดงชุด “มอญถวายบัว ต านานเมืองปทุมธานี”. โครงการเครือข่ายศิลปกรรม: มหกรรมศิลปะ การออกแบบ ดนตรี และศิลปะการแสดงนิพนธ์ระดับอุดมศึกษา.
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2561). การแสดงสร้างสรรค์ ชุด แห่หางหงส์ ธงตะขาบ. รางวัลประกาศเกียรติคุณ ในการประกวด The 8th Innovation Awards 2018 สถาบันวิจัยและพัฒนา(IRD) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
  • ประวิทย์ ฤทธิบูลย์. (2561). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา โขนวิทยา. ปทุมธานี:
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. จ านวน 284 หน้า

งานอื่นๆ

  • คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (5 ปี) สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา(หลักสูตรฉบับปี พ.ศ. 2556 และ พ.ศ. 2560)
  • อาจารย์นิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 1-2
  • คณะกรรมการสอบศิลปนิพนธ์นักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา
  • ที่ปรึกษาโครงการบริการวิชาการด้านนาฏศิลป์ไทย
  • กรรมการตัดสินการแข่งขันมหกรรมความสามารถทางศิลปหัตถกรรม วิชาการ และเทคโนโลยีของนักเรียนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • วิทยากรถ่ายทอดความรู้และทักษะด้านนาฏศิลป์ไทย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
  • อาจารย์พิเศษ ระดับปริญญาตรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒรายวิชา ศกศ 313 การละครไทยส าหรับครู (ศิลปะการแสดงโขน) และ ศกศ 347 การละครในบริบททางสังคม
  • อาจารย์พิเศษ ระดับบัณฑิตศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • หัวหน้าโครงการนาฏกรรมโขนเพื่อส่งเสริมด้านสุขภาวะของผู้ต้องขังชายในทัณฑสถานวัยหนุ่มกลาง
  • หัวหน้าโครงการอบรมพัฒนาศักยภาพยุวศิลปิน
  • หัวหน้าโครงการการอนุรักษ์และการสร้างสรรค์ทางด้านนาฏศิลป์และดนตรี