ศ.ดร.ปานฉัตท์ อินทร์คง


#


Email : panchat_i@rmutt.ac.th

สาขาวิชา
ออกแบบผลิตภัณฑ์
ภาควิชา
ศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี

คุณวุฒิ

สาขาวิชาที่จบ ปีที่จบ สถาบันการศึกษาที่จบ

ปร.ด. 

วัฒนธรรมศาสตร์ 2553 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ศศ.ม.  การบริหารงานวัฒนธรรม-มรดกวัฒนธรรม 2546

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ศษ.บ.  ออกแบบศิลปประยุกต์ 2532

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตเพาะช่าง

ประสบการณ์ทำงานจำนวนปี 21 ปี

2542 – ปัจจุบัน อาจารย์ประจำสาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

ประสบการณ์สอน

  1. มโนทัศน์ทางการออกแบบ
  2. สัมมนาการออกแบบผลิตภัณฑ์
  3. ออกแบบผลิตภัณฑ์
  4. การตลาดกับงานออกแบบ
  5. ออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย
  6. หลักการเขียนแบบ
  7. วัสดุผลิตภัณฑ์
  8. การตลาดในงานออกแบบผลิตภัณฑ์
  9. การจัดการงานออกแบบผลิตภัณฑ์
  10. การออกแบบเครื่องประดับ
  11. ออกแบบเฟอร์นิเจอร์

บทความวิจัย

  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2561. “เอกลักษณ์พื้นถิ่นในงานจิตรกรรมฝาผนังวัดภูมินทร์ จังหวัดน่าน การสร้างสรรค์สู่ผลิตภัณฑ์วัฒนธรรม”. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร.  
  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2560. “ผ้าทอจันเสนลายปลาเสือตอ : ประยุกต์ใช้ร่วมกับงานจักสานเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน จังหวัดนครสวรรค์”. วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัยและงานสร้างสรรค์ มทร.ธัญบุรี.

ตำรา/หนังสือ

  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2562. “การออกแบบผลิตภัณฑ์วัฒนธรรม”.กรุงเทพฯ: อันลิมิต พริ้นติ้ง. 
  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2561. “การออกแบบผลิตภัณฑ์วัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง)”.กรุงเทพฯ: อันลิมิต พริ้นติ้ง.  
  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2561. “การออกแบบเครื่องประดับเงินภูมิปัญญาล้านนา”.กรุงเทพฯ: ทริปเปิ้ล กรุ๊ฟ. 

  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2559. “การประยุกต์ใช้เทคนิคประดับกระจกสีเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตกแต่งบ้านลวดลายขนบธรรมเนียมประเพณีไทย”. คณะศิลปกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.  (ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ)    
  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2018. “Light Colour of Culture”. National Arts Workshop Rajamangala University of Technology
  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2018. “Application Colered Glass Technique for Product Development of Thai Traditional house Decorations”. Humanities, Arts and Social Sciences Studies (HASSS)
  • ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2020. “Time change Cultute change”. Lanna RMUTI National Arts Workshop & Exhibition