ผู้ช่วยศาสตราจารย์สิลัง สุพวงแก้ว

Asst. Prof. Silang Supourngkaew

02 549 3275


Email : silang_s@rmutt.ac.th

สาขาวิชา
นวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย
ภาควิชา
ศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี

ประวัติการศึกษา

  • ศศ.ม. ไทยคดีศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • ศษ.บ. หัตถกรรม – เครื่องรัก 2528 วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา

ประสบการณ์ทำงาน/การสอน

  • 2536-ปัจจุบัน  ผู้ช่วยศาสตราจารย์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
  • 2535 อาจารย์พิเศษ คณะศิลปกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล

รายวิชาที่สอน

  • วิชางานปิดทองผลิตภัณฑ์
  • วิชาเครื่องรัก
  • วิชางานลายรดน้ำ
  • วิชาการขึ้นหุ่นโครงสร้าง
  • วิชาทฤษฎีหัตถกรรม
  • วิชาวาดเส้นเพื่องานออกแบบ
  • วิชาวัสดุศาสตร์
  • วิชางานแกะสลักไม้
  • วิชาเครื่องหล่อ
  • วิชาหัตถกรรมภูมิปัญญาไทย
  • วิชาวัสดุศาสตร์
  • วิชาวิธีไทยวิถีอาเซียน
  • วิชางานปิดทองผลิตภัณฑ์
  • วิชางานแกะฉลุลวดลายปิดทอง
  • วิชาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมสร้างสรรค์
  • วิชาผลิตภัณฑ์ของตกแต่ง
  • วิชาศิลปะนิพนธ์

ผลงานทางวิชาการ

งานวิจัย

  • สิลัง สุพวงแก้ว. (2561). การสร้างสรรค์งานประติมากรรมศิลปะ ไทยจากมะพร้าวทุย. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. ปีที่ 6, ฉบับที่ 1. มกราคม – มิถุนายน. หน้า 134-15

งานลักษณะอื่นๆ

  • ประธานหลักสูตรนวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัยซึ่งปรับปรุงจากหลักสูตรเดิม 4 สาขาวิชาของภาควิชาศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี ปี พ.ศ. 2558-2560
  • ได้รับคัดเลือกในฐานะครูช่างให้ร่วมเดินทางไปกับศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่าง ประเทศ (องค์การมหาชน) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เทคนิคงานเครื่องมุก ไทย-เกาหลี ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ ปี พ.ศ. 2559
  • คณะกรรมการตัดสินผลงานศิลปกรรมนักเรียนให้กับสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) ปทุมธานี เขต 2 (กลุ่มสาระทัศนศิลป์) ปี พ.ศ. 2557-2561
  • กรรมการตัดสินผลงานศิลปกรรมนักเรียน สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปทุมธานี เขต 2 (สพฐ)กลุ่มสาระทัศนศิลป์ พ.ศ. 2555-2561
  • บูรณะปิดทองพระประธานในพระอุโบสถ วัดหว่านบุญ วัดพลาหาร วัดหัตถสารเกษตร ในจังหวัดปทุมธานี
  • วิทยากรอบรมเทคนิคงานช่างให้กับนักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไป
  • วิทยากรสอนสื่อทางไกลผ่านดาวเทียม เทคนิคปิดทองผลิตภัณฑ์ ลายรดน้ำ ลายกำมะลอ และแกะสลักพวงกุญแจจากเศษไม้
  • ควบคุมศิลปนิพนธ์ นักศึกษาสาขาวิชาหัตถกรรม (หลักสูตรเดิม) นวัตกรรมการออกแบบผลิตภัณฑ์ร่วมสมัย (หลักสูตรปรับปรุงใหม่)
  • อาจารย์นิเทศการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สหกิจศึกษา)